Brain Based Learning หมายถึง การเรียนรู้ ที่ใช้โครงสร้างและหน้าที่ของสมองเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ โดยไม่สกัดกั้นการท างานของสมอง แต่เป็นการส่งเสริมให้สมองได้ปฏิบัติ
หน้าที่ให้สมบูรณ์ ที่สุด ภายใต้แนวคิดที่ว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ ทุกคนมีสมองพร้อมที่จะท า
เรียนรู้มาตั้งแต่ก าเนิด
องค์ประกอบ
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้แบบ Brain Based Learning ประกอบด้วย
องค์ประกอบของการส่งเสริมการคิดต่างๆ โดยองค์ประกอบการคิดประกอบด้วย
1. สิ่งเร้า เป็นสื่อและองค์ประกอบแรกที่เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลเกิดการรับรู้ สิ่งเร้าท าให้
เกิดปัญหา ความสงสัย ความขัดแย้ง และก่อให้เกิดการคิด
2. การรับรู้ บุคคลสามารถรับรู้ด้วยประสาททั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง ระดับการ
รับรู้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณภาพของสิ่งเร้า
3. จุดมุ่งหมายในการคิด ผู้คิดจะต้องมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนในการคิดแต่ละครั้งว่ามีเหตุผล
เพื่ออะไร
4. วิธีคิด การคิดแต่ละครั้งจะต้องเลือกวิธีคิดให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย เช่น คิดเพื่อตัดสินใจ
ควรใช้คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดแก้ปัญหาควรใช้วิธีคิดแบบแก้ปัญหา
5. ข้อมูลหรือเนื้อหา เป็นความรู้ ประสบการณ์ หรือข้อมูลการรู้ใหม่ที่ศึกษาค้นคว้า
6. ผลของการคิด เป็นผลที่ได้จากการปฏิบัติงานทางสมองหรือกระบวนการคิดของสมอง
กระบวนการ
กระบวนการเบื้องต้นที่ส าคัญของการสอนมี 3 ประการ (The Three Elements of Great
Teaching) ได้แก่
1.กระบวนการการผ่อนคลาย ( Relaxed Alertness) การสร้างอารมณ์ บรรยากาศในการ
เรียนรู้ให้ดีที่สุด มีลักษณะผ่อนคลาย ท้าทาย ให้ผู้เรียนมีความรู้สึกสามารถเรียนรู้ได้อย่างมั่นใจ ที่
อยากจะเรียน จัดสิ่งแวดล้อม โอกาสประสบการณ์ที่ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนร่วมได้และเชื่อมโยง
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามเป้าหมายของแต่ละคนที่สนใจ
2.กระบวนการสร้างความตระหนัก จดจ่อ (Orchestrated immersion) การจัดประสบ
Brain Based Learning (BBL)
Brian Base Learning (BBL) 2
การณ์การเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับความรู้สึก ตระหนัก จดจ่อที่จะเรียนของผู้เรียนโดยผ่านการได้เห็น
ได้ยิน ได้ดม สัมผัส ได้ชิมรส และได้เคลื่อนไหวร่างกาย ได้เชื่อมโยงความรู้เดิมมาใช้กับการ
เรียนรู้สิ่งใหม่ มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาที่เข้ามาเผชิญหน้าฝึกปฏิบัติค้นหาค าตอบ
3.หลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการอย่างกระตือรือร้น (Active Processing
of Experience) เป็นการจัดประสบการณ์ที่สร้างสรรค์น าไปสู่ความแข็งแกร่งในการเรียนรู้ โดย
จัดกิจกรรมที่มีความหมาย ครูใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนพิจารณา หรือค้นหาค าตอบ ข้อมูลสาร
สนเทศอย่างกระตือรือร้น และ feed back นักเรียนอย่างสม่ าเสมอเพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
คิด หาทางพิสูจน์หรือค้นหาค าตอบ วิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของพวกเขาได้ ฝึกทักษะการ
ตัดสินใจในช่วงวิกฤติ และสื่อสารบนความเข้าใจของตนเอง
ปัจจัยการพัฒนาสมองเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน ( Brain Based Learning Development)
ผู้สอนจ าต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของสมองเพื่อการเรียนรู้เพื่อจะได้
บริหารจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนที่ดีและเหมาะสม
1. ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมอง เป็นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้และ
กระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของสมองตามแนวใหม่นี้คือกุญแจส าคัญต่อการ
พัฒนาการเรียนรู้ที่ได้รับการยกระดับ และให้ความส าคัญอย่างยิ่งในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
2.กระบวนการสร้างความตระหนัก จดจ่อ (Orchestrated immersion) การจัดประสบ
การณ์การเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับความรู้สึก ตระหนัก จดจ่อที่จะเรียนของผู้เรียนโดยผ่านการได้เห็น
ได้ยิน ได้ดม สัมผัส ได้ชิมรส และได้เคลื่อนไหวร่างกาย ได้เชื่อมโยงความรู้เดิมมาใช้กับการ
เรียนรู้สิ่งใหม่ มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาที่เข้ามาเผชิญหน้าฝึกปฏิบัติค้นหาค าตอบ
3.หลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการอย่างกระตือรือร้น (Active Processing
of Experience) เป็นการจัดประสบการณ์ที่สร้างสรรค์น าไปสู่ความแข็งแกร่งในการเรียนรู้ โดย
จัดกิจกรรมที่มีความหมาย ครูใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนพิจารณา หรือค้นหาค าตอบ ข้อมูลสาร
สนเทศอย่างกระตือรือร้น และ feed back นักเรียนอย่างสม่ าเสมอเพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
คิด หาทางพิสูจน์หรือค้นหาค าตอบ วิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของพวกเขาได้ ฝึกทักษะการ
ตัดสินใจในช่วงวิกฤติ และสื่อสารบนความเข้าใจของตนเอง