Brain Based Learning หมายถึง การเรียนรู้ ที่ใช้โครงสร้างและหน้าที่ของสมองเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ โดยไม่สกัดกั้นการท างานของสมอง แต่เป็นการส่งเสริมให้สมองได้ปฏิบัติ
หน้าที่ให้สมบูรณ์ ที่สุด ภายใต้แนวคิดที่ว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ ทุกคนมีสมองพร้อมที่จะท า
เรียนรู้มาตั้งแต่ก าเนิด
องค์ประกอบ
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้แบบ Brain Based Learning ประกอบด้วย
องค์ประกอบของการส่งเสริมการคิดต่างๆ โดยองค์ประกอบการคิดประกอบด้วย
1. สิ่งเร้า เป็นสื่อและองค์ประกอบแรกที่เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลเกิดการรับรู้ สิ่งเร้าท าให้
เกิดปัญหา ความสงสัย ความขัดแย้ง และก่อให้เกิดการคิด
2. การรับรู้ บุคคลสามารถรับรู้ด้วยประสาททั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง ระดับการ
รับรู้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณภาพของสิ่งเร้า
3. จุดมุ่งหมายในการคิด ผู้คิดจะต้องมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนในการคิดแต่ละครั้งว่ามีเหตุผล
เพื่ออะไร
4. วิธีคิด การคิดแต่ละครั้งจะต้องเลือกวิธีคิดให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย เช่น คิดเพื่อตัดสินใจ
ควรใช้คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดแก้ปัญหาควรใช้วิธีคิดแบบแก้ปัญหา
5. ข้อมูลหรือเนื้อหา เป็นความรู้ ประสบการณ์ หรือข้อมูลการรู้ใหม่ที่ศึกษาค้นคว้า
6. ผลของการคิด เป็นผลที่ได้จากการปฏิบัติงานทางสมองหรือกระบวนการคิดของสมอง
กระบวนการ
กระบวนการเบื้องต้นที่ส าคัญของการสอนมี 3 ประการ (The Three Elements of Great
Teaching) ได้แก่
1.กระบวนการการผ่อนคลาย ( Relaxed Alertness) การสร้างอารมณ์ บรรยากาศในการ
เรียนรู้ให้ดีที่สุด มีลักษณะผ่อนคลาย ท้าทาย ให้ผู้เรียนมีความรู้สึกสามารถเรียนรู้ได้อย่างมั่นใจ ที่
อยากจะเรียน จัดสิ่งแวดล้อม โอกาสประสบการณ์ที่ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนร่วมได้และเชื่อมโยง
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามเป้าหมายของแต่ละคนที่สนใจ
2.กระบวนการสร้างความตระหนัก จดจ่อ (Orchestrated immersion) การจัดประสบ
Brain Based Learning (BBL)
Brian Base Learning (BBL) 2
การณ์การเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับความรู้สึก ตระหนัก จดจ่อที่จะเรียนของผู้เรียนโดยผ่านการได้เห็น
ได้ยิน ได้ดม สัมผัส ได้ชิมรส และได้เคลื่อนไหวร่างกาย ได้เชื่อมโยงความรู้เดิมมาใช้กับการ
เรียนรู้สิ่งใหม่ มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาที่เข้ามาเผชิญหน้าฝึกปฏิบัติค้นหาค าตอบ
3.หลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการอย่างกระตือรือร้น (Active Processing
of Experience) เป็นการจัดประสบการณ์ที่สร้างสรรค์น าไปสู่ความแข็งแกร่งในการเรียนรู้ โดย
จัดกิจกรรมที่มีความหมาย ครูใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนพิจารณา หรือค้นหาค าตอบ ข้อมูลสาร
สนเทศอย่างกระตือรือร้น และ feed back นักเรียนอย่างสม่ าเสมอเพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
คิด หาทางพิสูจน์หรือค้นหาค าตอบ วิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของพวกเขาได้ ฝึกทักษะการ
ตัดสินใจในช่วงวิกฤติ และสื่อสารบนความเข้าใจของตนเอง
ปัจจัยการพัฒนาสมองเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน ( Brain Based Learning Development)
ผู้สอนจ าต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของสมองเพื่อการเรียนรู้เพื่อจะได้
บริหารจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนที่ดีและเหมาะสม
1. ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมอง เป็นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้และ
กระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของสมองตามแนวใหม่นี้คือกุญแจส าคัญต่อการ
พัฒนาการเรียนรู้ที่ได้รับการยกระดับ และให้ความส าคัญอย่างยิ่งในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
2.กระบวนการสร้างความตระหนัก จดจ่อ (Orchestrated immersion) การจัดประสบ
การณ์การเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับความรู้สึก ตระหนัก จดจ่อที่จะเรียนของผู้เรียนโดยผ่านการได้เห็น
ได้ยิน ได้ดม สัมผัส ได้ชิมรส และได้เคลื่อนไหวร่างกาย ได้เชื่อมโยงความรู้เดิมมาใช้กับการ
เรียนรู้สิ่งใหม่ มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาที่เข้ามาเผชิญหน้าฝึกปฏิบัติค้นหาค าตอบ
3.หลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการอย่างกระตือรือร้น (Active Processing
of Experience) เป็นการจัดประสบการณ์ที่สร้างสรรค์น าไปสู่ความแข็งแกร่งในการเรียนรู้ โดย
จัดกิจกรรมที่มีความหมาย ครูใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนพิจารณา หรือค้นหาค าตอบ ข้อมูลสาร
สนเทศอย่างกระตือรือร้น และ feed back นักเรียนอย่างสม่ าเสมอเพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
คิด หาทางพิสูจน์หรือค้นหาค าตอบ วิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของพวกเขาได้ ฝึกทักษะการ
ตัดสินใจในช่วงวิกฤติ และสื่อสารบนความเข้าใจของตนเอง
ลงชื่อเข้าใช้
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ลืมรหัสผ่านหรือไม่? ขอความช่วยเหลือ
กู้คืนรหัสผ่าน
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ