กระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนัง (Leather Handbag)

บทสรุปนักลงทุน

 

กระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังของไทยเป็นที่ต้องการของต่างประเทศมากขึ้น เนื่องจากฝีมือประณีตคุณภาพดี และมีการพัฒนารูปแบบตามความต้องการของตลาด แต่การส่งออกในช่วงที่ผ่านมามีข้อจำกัดด้านต้นทุนวัตถุดิบนำเข้ามีราคาสูงขึ้นมาก ตามค่าเงินบาทที่อ่อนลง และผู้ผลิตยังปรับตัวไม่ทัน ปริมาณการส่งออกกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังในช่วงปี 2538-2541 ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 3.6 ต่อปี อยู่ที่ 3,346,725 ใบ ในปี 2541 มูลค่าการส่งออกลดลงเฉลี่ยร้อยละ 3 ต่อไป เป็น 1,154.2 ล้านบาท ล่าสุดในช่วงครึ่งแรกของปี 2542 นั้น ปริมาณส่งออกกลับเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.9 อยู่ที่ 1,495,807 ใบ ขณะที่มูลค่าการส่งออกยังลดลงร้อยละ 33 อยู่ที่ 394.4 ล้านบาท เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา และการแข่งขันจากประเทศคู่แข่ง ได้แก่ ไต้หวัน จีน อินโดนีเซีย  และอินเดีย โดยตลาดหลัก คือ เยอรมนี มีสัดส่วนถึงร้อยละ 45.3 ของมูลค่าการส่งออกกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ฝรั่งเศส และอังกฤษ

 

ทางด้านมูลค่าการนำเข้านั้นเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 22.5 ต่อปี เป็น 181.41 ล้านบาทในปี 2541 เนื่องจากผลของค่าเงินบาทที่อ่อนลง ขณะที่ปริมาณการนำเข้าในช่วงปี 2538-2541 ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 19 ต่อปี เหลือเพียง 72,303 ใบ ในปี 2541      และในช่วงครึ่งแรกของปี 2542 นั้น    การนำเข้ากระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนัง  โดยเฉพาะแบรนด์เนมดัง ๆ ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง โดยปริมาณการนำเข้าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกับปีก่อนร้อยละ 27.1 อยู่ที่ 42,078 ใบ เนื่องจากค่าเงินบาทแข็งขึ้น ทำให้ราคานำเข้าลดลงร้อยละ 27.5 มูลค่านำเข้าจึงลดลงร้อยละ 7.9 เป็น 76.91 ล้านบาท ราวร้อยละ 60 นำเข้าจากฝรั่งเศส    รองลงมา     ได้แก่   อิตาลี   สวิสเซอร์แลนด์   ฮ่องกง

และสเปน

 

เนื่องจากธุรกิจกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังมีตลาดในประเทศเป็นตลาดหลักอยู่ที่ประมาณ 8,346,600 ใบ มูลค่าตลาด 10,224.6 ล้านบาท เมื่อรวมกับการนำเข้าและส่งออกแล้ว ปริมาณความต้องการรวมกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังอยู่ที่ 11,765,628 ใบ มูลค่า 11,560.2 ล้านบาท ในปี 2541

 

แนวโน้มปี 2542-2543 คาดว่าความต้องการโดยรวมจะปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับ ทั้งการส่งออกและนำเข้า ตลอดจนการใช้ในประเทศ ตามภาวะเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มดีขึ้น ทำให้อำนาจซื้อเพิ่มขึ้น และค่าเงินบาทที่มีเสถียรภาพ จะทำให้ความเสี่ยงทางด้านต้นทุนการนำเข้าวัตถุดิบลดลง อย่างไรก็ตาม การแข่งขันที่รุนแรงทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทำให้ผู้ประกอบการต้องพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ทันสมัยโดยเน้นรูปแบบแฟชั่น และควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาดและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน

 

ในการลงทุนประกอบกิจการผลิตกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังขนาดเล็ก ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 150,000 ใบ/ปี จะใช้เงินลงทุนประมาณ 1.8 ล้านบาท จำแนกเป็นเงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 1.3 ล้านบาท และเงินทุนหมุนเวียน 5000,000 บาท/เดือน โครงสร้างต้นทุนการผลิตเป็นค่าวัตถุดิบถึงร้อยละ 60 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด รองลงมา คือ ค่าแรงงาน ค่าโสหุ้ยการผลิต และค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร ร้อยละ 25 10 และ 5 ตามลำดับ

 

การตลาด

 

ความต้องการในปัจจุบันและอนาคต

 

กระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนัง (Leather Handbag) เป็นกระเป๋าที่ทำจากหนังฟอก และหนังเทียมซึ่งการผลิตกระเป๋ามีความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับเปลี่ยนการผลิตหรือเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์เครื่องหนังได้ง่าย เช่น กระเป๋าธนบัตร กระเป๋าเดินทาง เข็มขัด เป็นต้น

 

กระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังเป็นที่ต้องการทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยตลาดในประเทศส่วนใหญ่เป็นตลาดระดับกลาง-ล่าง จากการประมาณความต้องการในประเทศโดยการใช้ข้อมูลด้านประชากรเฉพาะเพศหญิง (ไม่รวมผู้ทำงานในภาคเกษตรและกรรมกร) พบว่าความต้องการกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังในประเทศในปี 2541 อยู่ที่ประมาณ 8,346,600 ใบ มูลค่าตลาด 10,224.6 ล้านบาท

 

ในช่วงปี 2538-2541 ปริมาณการส่งออกกระเป๋าถือสตรีทำด้วยหนังลดลงเฉลี่ยร้อยละ 3.6 ต่อปี จาก 3,736,361 ใบ ในปี 2538 ตอป จาก 3,736,361 ใบ ในป 2538 มาอยูที่ 3,346,725 ใบ ในป 2541 และมูลคาการสงออกลดลงเชนกันเฉลี่ยรอยละ 3 ตอป จาก 1,263.79 ลานบาทในป 2538 เปน 1,154.16 ลานบาทในป 2541 เนื่องจากตนทุนวัตถุดิบนําเขามีราคาสูงขึ้นมาก จากคาเงินบาทที่ออนลง และผูผลิตยังปรับตัวไมทัน โดยในป 2540 ปแรกของการเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลี่ยนนั้นราคาสงออกกระเปาถือสตรีทําดวยหนังปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปกอนถึงรอยละ 26 แตในป 2541 ทั้งปริมาณและมูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 68.7 และ40.8 ตามลํ าดับ และในชวงครึ่งแรกของป 2542 นั้น ปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 2.9 อยูที่ 1,495,807 ใบ ขณะที่มูลคาสงออกลดลงรอยละ 33 อยูที่ 394.43 ลานบาท เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา และการแขงขันจากประเทศคูแขง ไดแก ไตหวัน เกาหลีใต จีน อินโดนีเซีย และอินเดียโดยตลาดหลัก คือ เยอรมนี มีสัดสวนถึงรอยละ 45.3 ของมูลคาการสงออกกระเปาถือสตรีทําดวยหนังทั้งหมด รองลงมา ไดแก ญี่ปุน (10.6%) สหรัฐฯ (8.5%) ฝรั่งเศส (6.7%) และอังกฤษ (6.0%) ที่เหลืออีกรอยละ 22.9 สง
ออกไปยังประเทศอื่น

 

ดานการนําเขานั้น เปนที่นาสังเกตวา หลังเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนตั้งแตกลางป 2540 ทําใหคาเงินบาทออนตัวลงมาก ตอเนื่องใหราคานําเขาปรับตัวเพิ่มขึ้นมากเฉลี่ยรอยละ 51.2 ตอป สงผลใหมูลคาการนำเขาเพิ่มขึ้นมากถึงรอยละ 22.5 ตอป จาก 98.75 ลานบาทในป 2538 เปน 181.41 ลานบาทในป 2541 ขณะที่ปริมาณการนําเขาในชวงป 2538-2541 ลดลงมากกวาปริมาณสงออกอยูที่เฉลี่ยรอยละ19 ตอป จาก 136,187 ใบ ในป 2538 ลดลงเหลือเพียง 72,303 ใบ ในป 2541 และในชวงครึ่งแรกของป 2542 นั้น การนําเขากระเปาถือสตรีทําดวยหนังโดยเฉพาะแบรนดเนมดังๆ ยังคงมีอยางตอเนื่อง โดยปริมาณการนําเขาเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 27.1 อยูที่ 42,078 ใบ เนื่องจากคาเงินบาทแข็งขึ้น ทําใหราคานําเขาลดลงเมื่อเทียบกับป
กอนรอยละ 27.5 ทําใหมูลคานําเขาลดลงรอยละ 7.9 อยูที่ 76.91 ลานบาท โดยสวนใหญจะนําเขาจากฝรั่งเศสถึงรอยละ 60.0 ของมูลคาการนําเขากระเปาถือสตรีทําดวยหนังทั้งหมด รองลงมา ไดแก อิตาลี (19.0%) สวิสเซอรแลนด (8.1%) ฮองกง (5.6%) และสเปน (3.6%) ที่เหลืออีกเล็กนอยเพียงรอยละ 3.7 นําเขาจากประเทศอื่น

 

เนื่องจากธุรกิจกระเปาถือสตรีทําดวยหนังมีตลาดในประเทศเปนตลาดหลัก ขณะที่การนําเขาเปนตลาดระดับบน ดังนั้นความตองการในประเทศเมื่อรวมกับการนําเขาและสงออกแลวปริมาณความตองการรวมกระเปาถือสตรีทําดวยหนังอยูที่ 11,765,628 ใบ มูลคา 11,560.2 ลานบาท ในป 2541

 

แนวโนมป 2542-2543 คาดวาความตองการโดยรวมจะปรับตัวดีขึ้นเปนลําดับทั้งการสงออกและนําเขา ตลอดจนการใชในประเทศ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจมีแนวโนมที่ดีขึ้น ทําใหอํานาจซื้อเพิ่มขึ้น และคาเงินบาทที่มีเสถียรภาพ จะทําใหความเสี่ยงทางดานตนทุนการนําเขาวัตถุดิบลดลง อยางไรก็ตามการแขงขันที่สูงโดยเฉพาะ
ดานราคาจากผูประกอบการที่ผลิตสินคาระดับลาง ซึ่งมีอยูเปนจํานวนมาก จะทําใหแนวโนมราคาขายในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้นไมมากนัก    สําหรับภาวะการสงออกนั้น      ยังตองแขงขันกับคูแขงสําคัญที่ไดเปรียบดานคาแรงที่ถูกกวา เชน จีน      ดังนั้นผูประกอบการจึงตองพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑใหทันสมัย   โดยเนนรูปแบบแฟชั่น และควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐาน เปนที่ตองการของตลาด และเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน รวมทั้งการพัฒนาตลาดสงออกภายใตแบรนดเนมของไทย เพื่อยกระดับสินคาไทยใหอยูในตลาดกลาง-สูง เพราะหากไทยยังเปนเพียงแหลงรับจางผลิต ในขณะที่ตนทุนคาแรงสูง       ทําใหความสามารถในการแขงขันนอยกวาคูแขง

 

ผูผลิตในปจจุบัน (คูแข)

 

โรงงานผลิตกระเปาถือสตรีทําดวยหนังมีจํานวน 183 โรง ตั้งอยูในกรุงเทพฯ 123 โรงและปริมณฑล 41 โรง คิดเปนสัดสวนรอยละ 67 และ 22 ของจํานวนโรงงานทั้งหมด       เนื่องจากมีแรงงานมีฝมือและการขน

สงวัตถุดิบสะดวก โดยโรงงานขนาดกลาง-ใหญ จะผลิตเพื่อสงออกมากกวาจําหนายในประเทศ   ซึ่งจะผลิตยี่หอ

ของตนเอง และมีบางสวนที่รับจางผลิตใหกับยี่หอที่มีชื่อเสียง ขณะที่โรงงานขนาดเล็ก มักจะผลิตเพื่อจําหนายในประเทศเปนหลัก และรับจางผลิตจากบริษัทอื่นอีกตอหนึ่ง

 

อนึ่ง การผลิตยี่หอของตนเองนั้นควรจดลิขสิทธิ์ทั้งในประเทศไทยและประเทศผูผลิตที่สําคัญที่มีศักยภาพในการผลิต จําหนาย รวมทั้งความสามารถในการลอกเลียนแบบ เชน อิตาลี ฝรั่งเศส และ จีน เพื่อปองกันการตั้งชื่อซํ้าและการลอกเลียนแบบ

รายชื่อผูประกอบการสําคัญ

ขนาดใหญ่ เงินลงทุน (บาท)
บริษัท สุวิโน จํากัด

บริษัท คอลเลคชั่น อินดัสเตรียล แอสโซซิเอท (กรุงเทพ) จํากัด

734,800,030

327,800,000

ขนาดกลางและย่อม  
บริษัท ลี แอนด แมน แฮนดแบ็ก(ประเทศไทย)จํากัด

บริษัท คามาตาริ (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท เอ.ซี.เลเธอร โปรดักส จํากัด

บริษัท โรมาอุตสาหกรรม จํากัด

บริษัท ซีอาร์ซี ครีเอชั่น จำกัด

168,500,000

104,660,000

93,600,000

71,700,000

70,000,000

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรรม

 

องทางการจําหนาย

 

กระเปาถือสตรีทําดวยหนังทํามีระดับราคาแตกตางกันมากตามกลุมลูกคา ซึ่งจําแนกไดตามระดับรายได้และการศึกษาเปนหลัก เชน กระเปาราคาถูกจับกลุมลูกคารายไดนอยจะวางจําหนายทั่วประเทศ ตามรานคาทั่วไป ขณะที่สินคาที่มียี่หอและชื่อเสียงจะวางขายผานหางสรรพสินคาโดยตรง สําหรับสินคาที่สวนใหญสงออกตางประเทศเปนหลักนั้นจะมีบางสวนจําหนายผานทางรานจิวเวลรี รานคาในโรงแรม ซึ่งมีนักทองเที่ยวตางประเทศเปนลูกคาประจํา   เนื่องจากราคาสูงและมักทําจากหนังสัตวอื่นที่มิใชหนังโค/กระบือ    เชน  จระเข ปลากระเบน

เปนตน

 

การผลิต

 

วัตถุดิบที่ใชและแหลงวัตถุดิบ

วัตถุดิบที่ใชประกอบดวย 2 ประเภทหลัก คือ หนังฟอก และ Accessories ที่ใชประกอบกระเปาสวนใหญเปนโลหะ ซึ่งหนังที่ใชนั้นมีทั้งนําเขาและซื้อจากผูผลิตในประเทศที่สวนใหญโรงงานฟอกหนังอยูในจังหวัดสมุทรปราการ อาทิ โรงงานฟอกหนังชัยวัฒนา ผูประกอบการที่ใชหนังนําเขาเปนสวนใหญนั้นมักจะผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก ขณะที่ผูประกอบการที่ใชหนังในประเทศเปนสวนใหญจะผลิตเพื่อขายในประเทศ โดยหนังที่นําเขาโดยมากมักเปนหนังสัตวที่มีคุณภาพดี เชน หนังจระเข นําเขาจากอเมริกาใต หรือหนังสัตวแปลก ๆ เชน หนังปลากระเบน นําเขาจากประเทศในแถบเอเชีย สําหรับแหลงจําหนาย Accessories สํ าคัญ เชน บริษัท ว.พรสินมารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท สหอุปกรณเครื่องหนังไทย จํากัด และรานขุมทรัพย เปนตน

 

 

 

โครงสรางตนทุนการผลิต

ประเภท สัดสวน (%)
1. วัตถุดิบ *

– วัตถุดิบในประเทศ

– วัตถุดิบนําเขา

2. คาแรงงาน

3.  ค่าเสื่อมราคาและอื่น ๆ

60

10

90

15

25

              รวม   100

หมายเหตุ: * เปนการผลิตเพื่อสงออกเปนสวนใหญ กรณีผลิตเพื่อจําหนายในประเทศเปนสวนใหญนั้นสัดสวนวัตถุดิบในประเทศ : วัตถุดิบนํ าเขา = 90:10

 

กรรมวิธีการผลิต

 

  1. ออกแบบ
  2. คัดเลือก ตรวจสอบคุณภาพหนัง ใหตรงความตองการ
  3. ตัดหนังตามแบบที่ตองการ
  4. นําหนังเขาเครื่องเจียรหนัง เพื่อทํ าขอบหนังใหบาง งายตอการเย็บ
  5. พิมพหนังตามรูปแบบที่ตองการ โดยใชเครื่องปมหนัง
  6. ประกอบชิ้นสวน และเย็บเขาดวยกัน ซึ่งจะมีการประกอบและเย็บสลับกันไป จนไดเปน

กระเปา

  1. ตกแตงดวย Accessories
  2. บรรจุหีบหอ

 

 

 

 

 

เครื่องจักรที่ใชในกระบวนการผลิต

 

เครื่องจักรที่ใชในการผลิตกระเปาถือสตรีทําดวยหนัง ไดแก เครื่องเจียรหนัง ใชสําหรับทําขอบหนังใหบาง เพื่องายตอการเย็บ เครื่องปมหนัง ใชปม/ตัดหนังตามแบบที่ตองการ และจักรเย็บ  มีทั้งจักรพื้น  และจักรคอ

มา เครื่องจักรที่ใชสวนใหญนําเขาจากประเทศเยอรมนี โดยสามารถซื้อจักรเย็บจากบริษัทซิงเกอร ซึ่งผลิตในประเทศ

 

การลงทุนและการเงิน

 

ในการลงทุนอุตสาหกรรมกระเปาถือสตรีทําดวยหนังควรตั้งอยูในกรุงเทพฯ และปริมณฑล เนื่องจากอยูใกลแหลงวัตถุดิบ ซึ่งโรงงานหนังฟอกสวนใหญตั้งอยูในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีการลงทุนขนาดผลิต 150,000 ใบตอป โดยมีชั่วโมงการทํางาน 8 ชั่วโมงตอวัน ประกอบดวยเงินลงทุนและอุปกรณ ดังตอไปนี้

เงินลงทุน

 

  1. เงินทุนจดทะเบียนและเงินทุนเริ่มตน 1,300,000     บาท

– คาที่ดินและคาสิ่งปลูกสราง                    800,000    บาท

– คาเครื่องจักร                         250,000    บาท

– คายานพาหนะขนสงสินคา                       250,000        บาท

  1. เงินทุนหมุนเวียน                500,000         บาท/เดือน

 

บุคลากร  อุตสาหกรรมกระเปาถือสตรีทําดวยหนังใชบุคลากรประมาณ 25 คน ประกอบดวย

  1. พนักงานในโรงงาน ประกอบดวย

1.1 คนงาน                                     จํานวน     20          คน

1.2 หัวหนาคนงาน                                              จํานวน       1    คน

  1. พนักงานในสํ านักงานและพนักงานบริหาร จํานวน       4    คน

 

าใชายตอป

 

ตนทุนการขาย

  1. ตนทุนวัตถุดิบ                   2,160,000             บาทตอป

– หนัง                                2,000,000            บาทตอป

– Accessories                            160,000             บาทตอป

  1. ตนทุนแรงงาน         900,000           บาทตอป
  2. ตนทุนคาเสื่อมราคาเครื่องจักร 180,000       บาทตอป
  3. ตนทุนคาโสหุยการผลิต         360,000             บาทตอป

4.1 คาสาธารณูปโภค

– คานํ้า                             60,000             บาทตอป

– คาไฟ                           132,000             บาทตอป

– คาโทรศัพท                      19,200         บาทตอป

4.2  คาขนสง

– คานํ้ามัน                   28,800         บาทตอป

4.3  คาดอกเบี้ยจาย                      120,000              บาทตอป

กําไรเฉลี่ย ประมาณรอยละ 10 ของยอดขาย

หมายเหตุ: โรงงานมีการผลิตเครื่องหนัง 3 ประเภท คือ กระเปาถือสตรีทํ าดวยหนัง กระเปาธนบัตรและเข็มขัดโดยมีสัดสวนการผลิต 3: 3: 4 ตามลํ าดับ การใชกํ าลังการผลิตในป 2541 อยูในระดับตํ่ าเพียงรอยละ 20 ปริมาณการผลิตกระเปาถือสตรีทํ าดวยหนัง 9,000 ใบ กระเปาธนบัตร 9,000 ใบ และเข็มขัด 12,000 เสน โดยมีราคาขายสงเฉลี่ยตอหนวย ดังนี้ กระเปาถือสตรีทํ าดวยหนัง 250 บาท/ใบ กระเปาธนบัตร 110 บาท/ใบ และเข็มขัด 70 บาท/เสน ดังนั้นยอดขายรวมในป 2541 จึงอยูที่ประมาณ 4.1ลานบาท

 

 

 

 

 

แหลงขายเครื่องจักร (ในประเทศหรือตางประเทศ)

 

ตารางที่ 5: รายชื่อผูผลิตและตัวแทนจําหนาย

บริษัท ที่อยู่
บริษัท ซันฮับเอ็นเตอรไพรส จํากัด

 

บริษัท  ซิงเกอรประเทศไทย จํากัด (มหาชน)

บริษัท ต.ไพโรจน จักรเย็บผา จํากัด

 

บริษัท โฮฮังมิง (ประเทศไทย) จํากัด

 

บริษัท เมนมอเตอร์สโปรดักส์ จำกัด

 

124/9-10   ถ.รัชดาภิเษก-ทาพระ   เขตธนบุรี    กรุงเทพฯ

โทร 476-8469-72

321  ถ.สี่พระยา  เขตบางรัก  กรุงเทพฯ โทร 236-0138

104/82 ถ.เอกชัย  เขตบางขุนเทียน  กรุงเทพฯ

โทร 415-1615, 415-7455

27/16   ซ.เพชรเกษม 69   ถ.เลียบคลองภาษีเจริญ

เขตหนองแขม กรุงเทพฯ โทร 421-2576, 421-4246

11/327-328 ถ.เอกชัย เขต บางขุนเทียน กรุงเทพฯ

โทร  895-1223-6

         ที่มา: สอบถามจากผูประกอบการ

 

อมูลที่เกี่ยวกับกฎระเบียบและการขออนุญาตตาง

 

  1. การขออนุญาตนําเข งออก และครอบครอง

เนื่องจากการทํากิจการกระเปาถือสตรีทําดวยหนัง สวนใหญใชหนังสัตวเปนวัตถุดิบและบางชนิดเป็นสัตวที่ตองขออนุญาต อาทิ จระเข โดยที่ประเทศไทยเปนสมาชิกของไซเตส (อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลจะสูญพันธ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: CITES) ซึ่งกําหนดชนิดพันธุของสัตวปาและพืชปาที่ควบคุมในบัญชีหมายเลข 1 2 และ 3 (Appendix I II และ III) ของอนุสัญญา โดยมีหลักการดังนี้

ชนิดพันธุบัญชีหมายเลข 1 เปนชนิดที่หามคาโดยเด็ดขาด เนื่องจากใกลจะสูญพันธุ ยกเวนเพื่อการศึกษา วิจัยหรือเพาะพันธุ   ซึ่งตองไดรับความยินยอมจากประเทศที่จะนําเขากอนประเทศผูสงออกจึงจะออกใบอนุญาต

สงออกได เชน กระทิง จระเขนํ้าจืดและนํ้าเค็มของไทย

ชนิดพันธุบัญชีหมายเลข 2 เปนชนิดที่ยังอนุญาตใหคาได   แตตองมีการควบคุมโดยประเทศที่จะสงออก

ตองออกหนังสืออนุญาตใหสงออกและรับรองการสงออกแตละครั้ง อาทิ งูเหลือม

ชนิดพันธุบัญชีหมายเลข 3 เปนชนิดที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมาย   ของประเทศใดประเทศหนึ่งแลวขอความรวมมือประเทศภาคีใหชวยดูแลการนําเขา คือตองมีหนังสือรับรองการสงออกจากประเทศถิ่นกําเนิด เชน ควาย (เนปาล) เปนตน

 

ประเทศไทยเคยถูกพิจารณาลงโทษจากกลุมประเทศภาคีดวยการหามทําการคาสัตวปาและผลิตภัณฑกับไทย (Trade Ban) ตั้งแตเม.ย. 2534 ถึง เม.ย. 2535 ทําใหตองสูญเสียรายไดเปนจํานวนมาก ดังนั้นธุรกรรมเกี่ยวกับสัตวปา รวมถึงซากสัตวปา จึงตองไดรับความควบคุมจากหนวยงานราชการ ซึ่งมีพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ที่เกี่ยวของ 3 พ.ร.บ.ดวยกัน คือ

  1. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490
  2. พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
  3. พระราชบัญญัติการสงออกไปนอกและนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งสินคา พ.ศ. 2522

 

หนวยงานราชการที่ดูแลดานนี้ คือ

  1. สํานักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ กรมปาไม กรณีเปนสัตวบก รวมทั้งจระเขพันธุตางประเทศสามารถยื่นขออนุญาตไดที่หนวยงานดังกลาว หรือสํ านักงานปาไมจังหวัดที่ดานตรวจสัตวปาตั้งอยูในเขตจังหวัดนั้น หรือสํ านักงานปาไมจังหวัดที่สัตวปาอยูในเขตจังหวัดนั้น
  2. กองอนุรักษทรัพยากรประมง กรมประมง กรณีเปนสัตวนํ้ า และจระเขพันธุไทย สามารถยื่นขออนุญาตไดที่หนวยงานดังกลาว หรือสํ านักงานประมงจังหวัดที่ดานตรวจสัตวนํ้ าตั้งอยูในเขตจังหวัดนั้นหรือสํ านักงานประมงจังหวัดที่สัตวนํ้ าอยูในเขตจังหวัดนั้น

การทํ าโรงงานผลิตกระเปาถือสตรีทําดวยหนังจะมีทั้งการนําเขา สงออก ครอบครอง และคาหนังสัตวรวมถึงผลิตภัณฑ ซึ่งตองขออนุญาตจากหนวยงานที่เกี่ยวของขางตน ดังนี้

  1. ใบอนุญาตใหมีไวในครอบครองซึ่งสัตวปาคุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ หรือซากของสัตวปา

คุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ คาธรรมเนียมฉบับละ 50 บาท

 

  1. ใบอนุญาตใหคาซากของสัตวปาคุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ หรือผลิตภัณฑที่ทําจากของสัตวปา

คุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ คาธรรมเนียมฉบับละ 500 บาท

  1. ใบอนุญาตใหนํ าเขาหรือสงออกซึ่งสัตวปาคุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ หรือซากของสัตวปา

คุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ คาธรรมเนียมฉบับละ 50 บาท

  1. ใบอนุญาตใหนําเขา สงออกซึ่งสัตวปาหรือซากของสัตวปา คาธรรมเนียมฉบับละ 200 บาท

สําหรับหลักฐานประกอบการขออนุญาต ประกอบดวย

  1. หลักฐานการไดมาซึ่งสัตว หรือซาก หรือผลิตภัณฑที่ทํ าจากซากของสัตวปาคุมครองที่ไดจากการเพาะพันธุ
  2. หลักฐานการเปนสัตวปา หรือซากของสัตวปาที่อนุญาตใหนําเขา สงออกไดตามหลักเกณฑของ CITES
  3. สําเนาใบสั่งสินคา (Order) หรือสําเนาใบกํากับสินคา (Invoice)
  4. สําเนาใบอนุญาตสงออก (Export Permit) จากประเทศผูสงออก เพื่อใชประกอบการขอใบอนุญาต

นําเขาของผูประกอบการไทย

  1. สํ าเนาใบอนุญาตนําเขา (Import Permit) จากประเทศผูนําเขา เพื่อใชประกอบการขอใบอนุญาต

สงออกของผูประกอบการไทย

  1. สําเนาใบรับรองถิ่นกําเนิด (Certificate of Origin)
  2. สําเนาใบรับรองสุขภาพสัตว (Health Certificate )
  3. สําเนาทะเบียนบานของกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท
  4. หนังสือบริคณฑสนธิของบริษัท
  5. หนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัทแสดงรายการจดทะเบียนชื่อกรรมการ หรือ

หุนสวนผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

 

  1. านภาษี

–  การนําเขากระเปาถือสตรีทําดวยหนังตองเสียภาษีนําเขารอยละ 40   ของมูลคานําเขา     เริ่มตั้งแต

1 ม.ค. 2542 กอนหนานี้เสียภาษีรอยละ 100

–  วัตถุดิบประเภทหนังดิบไมตองเสียภาษีนํ าเขา

– วัตถุดิบประเภทหนังฟอกตองเสียภาษีนําเขาในอัตรารอยละ 5 ของมูลคานําเขา หรือ1.40บาท/กก. ยกเวนหนังฟอกที่ผานการฟอกขั้นตนโดยใชอะลัม (ทอวเด็ด) เสียภาษีนําเขาในอัตรารอยละ 10 ของมูลคานําเขา หรือ 3.30 บาท/กก. อัตราแบบใดคํานวณเปนเงินอากรไดสูงกวาจะตองเสียอัตราอากรแบบนั้น

– นอกจากนี้ยังตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มอัตรารอยละ 7 (ใชตั้งแต 1 เม.ย.42 – 31 มี.ค. 44) กอนหนา และหลังจากชวงเวลาขางตนใชอัตรารอยละ 10

 

แหลงขอมูลอื่นๆ เช หนวยงานที่ใหการสนับสนุนดานเทคนิค

– สมาคมเครื่องหนังไทย

– กรมสงเสริมการสงออก  สนับสนุนดานการสงออก  เชน  ชวยดานคาใชจายเปนบางสวนในการออกรานแสดงสินคาในตางประเทศ มีการฝกอบรมดานการทําเครื่องหนัง ตลอดจนใหบริการดานการออกแบบ

– กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม