ปัญหาสุขภาพกับสังคมไทย
นางสาวณัฎฐา ม้วนสุธา
พยาบาลวิชาชีพช านาญการ
นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต
สาขาสังคมวิทยา
มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
*************************
สังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่ต้องดิ้นรน ต่อ
สู้
และ
มีการ
แข่งขันสูงท าให้ผู้คนลืมที่จะใส่ใจในวิถี
ชีวิตประจ าวัน โดยเฉพาะเรื่องการกินอยู่
มนุษย์ได้คิดค้นเทคโนโลยีขั้นสูงมากมาย
เพื่
อ
อ านวยความสะดวก
และ
ความสุขสบายความมั่งคั่งให้แก่ตนเอง จนกระทั่งแยกตนเองออกจากธร
รมชาติ ไม่ไว้ใจธรรมชาติปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงธรรมชาติ โดยหวังว่าจะให้ตนเองชนะและอยู่เหนือธรรมชาติ
พัฒนาด้านวัตถุอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
มองออกนอกตนเอง การกินอยู่เปลี่ยนไป
ครอบครัวต่างคนต่างไป พัฒนาไปสู่ระบบบริโภคนิยม ยึดติดในรูป
เสียง กลิ่น รสสัมผัส อย่างถอ
นตัวไม่ขึ้น
จึงน าพาให้มนุษย์สมัยใหม่ต้องเผชิญหน้ากับความเสื่อมถอยของ
สุขภาพทางกาย ใจอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้
ท าให้
สภาพปัญหา
เกี่ยวกับภาวะ
สุขภาพ
ก็
เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไป
เกิด
แบบแผนการเจ็บป่วยและ
การ
เสียชีวิต
ซึ่ง
มีการ
เปลี่ยนจากโรคติดต่อ
มาเป็นโรคไม่ติดต่อ
ซึ่ง
โรคดังกล่าว
เกิดจาก
พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
ตัวอย่างเช่นโรค
เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ มะเร็ง ฯลฯ
และ
จากผลการส ารวจสุขภาพคนไทยโดยการตรวจร่างกาย
(
สถิติสาธารณสุข
,
2557 )
พบว่าประชากรไทยมัก
ไม่รู้ตัวว่าเป็นโรคเรื้อรัง
(กลุ่มโรคไม่ติดต่อ)
หรือกลุ่มที่
รู้ว่าเป็นโรคเรื้อรังนั้น
ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุม
อาการและ ดูแลรักษาตนเองได้อย่าง
ถูกต้อง ซึ่งภาวะดังกล่าว
มักน ามาซึ่งภาวะทุพพลภาพในที่สุด ท าให้มี
ภาวะพึ่งพิงในการด ารงชีวิต และต้องการได้รับการดูแลจากบุคคลในครอบครัวหรือสังคมต่อไป
และ
เมื่อเกิด
ภาวการณ์เ
จ็บป่วย
คนเราส่วนใหญ่มักจะไปหาแพทย์เพื่อให้หายจากความเจ็บป่วย และเมื่อพูดถึงเรื่องสุขภาพ
และความเจ็บป่วยคนส่วนมากก็มักจะนึกถึงแพทย์ โรงพยาบาล รวมทั้งมีภาพของเครื่องมือทางการแพทย์ เช่น
เครื่องมือวัดระดับความดันโลหิต หูฟังการเต้นของหัวใจ เป็นต้น นอกจากนั้นเมื่
อพูดถึงความเจ็บป่วย คน
ส่วนมากมักรับรู้ว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะกับบุคคล เป็นประสบการณ์ส่วนตัวของบุคคลที่เจ็บป่วย เป็น
ผลของการกระท าหรือที่เกี่ยวกับเฉพาะบุคคลนั้น เช่น เป็นความโชคร้ายของบุคคลที่ป่วย เป็นผลกรรมที่ท ามา
จากการกระท าของบุคคลนั้นทั้งในชาตินี้
หรือชาติก่อน หรือเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมของบุคคลนั้นๆ
หรือเฉพาะในครอบครัวนั้นๆ และเมื่อคนเราเจ็บป่วย เรามักต้องการให้ความเจ็บป่วยนั้นหายโดยเร็วที่สุดเท่าที่
จะเป็นไปได้ แต่สุขภาพมิใช่เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น หากสุขภาพและความเจ็บป่วยเป็นเรื่องทา
งสังคม
เป็นประสบการณ์ทางสังคมมากเท่าๆ กับเป็นประสบการณ์ส่วนบุคคล
ค
วามหมาย
ของค าว่า สุขภาพ
มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายเกี่ยวกับสุขภาพไว้
โดยมีรายละเอียดที่ส าคัญพอสรุปได้
ดังนี้
1.
ค าว่า
“
สุขภาพ
”
มากจากภาษาอังกฤษ
“health
”
ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาเยอรมันว่า
“health
”
มีความหมาย
3
ประการคือ
ความปลอดภัย
(safe)
ไม่มีโรค (
sound)
หรือทั้งหมด
(
whole)
ในพจนานุกรมออกซ์ฟอร์ด
จึงให้ความหมายของ
health
ว่าความไม่มีโรคทั้งร่างกายและจิตใจ
(
วิฑูรย์
อึ้งประพันธ์
, 2541)
อย่างไรก็ตามในระยะต่อ
มานักวิชาการทั้งหลายรวมทั้งองค์การอนามัยโลกได้ให้
ความหมายของสุขภาพ
แตกต่างกันไป
ซึ่งความหมายของสุขภาพที่แตกต่างกันนี้จะน าไปสู่เป้าหมายและ
วิธีการกระท าเพื่อสุขภาพแตกต่างกันได้
2.
สุขภาพ
(
องค์กรอนามัยโลก
,
2491
)
คือ
สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจรวมถึงการ
ด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุขและมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพ
เท่านั้น
3.
สุขภาพ
(
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
,
2545
)
คือ ภาวะที่มีความพร้อมสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย
คือร่างกายที่สมบูรณ์
แข็งแรง คล่องแคล่ว มีก าลัง ไม่เป็นโรค ไม่พิการไม่มีอุบัติเหตุอันตราย มีสิ่งแวดล้อมที่
ส่งเสริมสุขภาพ
4.
สุขภาพ
(
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
,
2557
)
หมายถึงระดับของประสิทธิภาพเชิงการท างานหรือเชิงเม
ตาบอลิก
ของสิ่งมีชีวิตส าหรับมนุษย์นั้นโดยทั่วไปและตามนิยามขององค์การอนามัยโลกหมายถึงสภาวะอัน
สมบูรณ์ของภาวะทางกาย จิต จิตวิญญาณ และสังคมของบุคคลอันมิได้หมายถึงความปราศจากโรคหรือความ
บกพร่องเพียงอย่างเดียวแม้นิยามนี้จะเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์โดยเฉพาะในประเด็นของความไม่มี
ตัวชี้วัดที่ชัดเจน
หรือประเด็นปัญญาที่ตามมาจากการใช้ค าว่า “สมบูรณ์” ก็ตามแต่ก็ยังเป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดอยู่
ระบบจ าแนกประเภทต่างๆเช่น
Family of International Classifications
ขององค์การอนามัยโลกซึ่ง
ประกอบด้วย
International Classification of Fun
ctioning, Disability and Health (ICF)
และ
International Classification of Diseases (ICD)
เป็นเกณฑ์ที่เป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการนิยามและวัด
องค์ประกอบของสุขภาพ
5.
สุ
ขภาพ
(
พรบ.สุขภาพแห่งชาติ
,
255
5
)
หมายถึ
งภาวะของมนุ
ษย์
ที่
สมบู
รณ์
ทั้ง
ทางกายทางจิ
ตทาง
ปั
ญญาและทางสั
งคมเชื่
อมโยงกั
นเป็
นองค์
รวมอย่างสมดุล
ดังนั้น
“
สุขภาพ”จึงหมายถึง
“
การมีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บในทุกส่วนของร่างกาย
มี
สุขภาพจิตดีและสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุขผู้มีสุขภาพดีถือว่าเป็นก าไรของชีวิต
เพราะท าให้ผู้เป็นเจ้าของชีวิตด ารงชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขได้”นั่นเอง
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ
สมิธ
(Smith, 1983
อ้างใน สมจิต
หนุเจริญกุล
, 2543)
ได้วิ
เคราะห์แนวคิดของสุขภาพที่มีอยู่โดยใช้
วิธีการวิเคราะห์เชิงปรัชญา
พบว่ามี
3
แนวคิด คือ
1.
แนวคิดทางด้านคลินิก
(Clinical
model)
ในแนวคิดนี้ให้ความหมายเกี่ยวกับ
สุขภาพ ว่า
เป็นภาวะที่ปราศจากอาการ
และอาการแสดงของโรค
หรือปราศจากความพิการต่าง ๆ
ส่วนความ
เจ็บป่วย
หมายถึงการมีอาการ
และอากรแสดงหรือมีความพิการเกิดขึ้น
ความหมายของสุขภาพเช่นนี้
ถือว่า
เป็นความหมายที่แคบที่สุดและเน้นการรักษา เสถียรภาพ
(Stability)
ทางด้านสรีรภาพ
ถ้าใช้ความหมายของ
สุขภาพดังกล่าวเป็นเป้าหมาย
จะน าไปสู่การบริการสุขภาพเชิ
งรับ
คือรอให้ประชาชนเกิดอาการและอาการ
แสดงของโรคและความพิการเท่านั้น
ซึ่งท าให้การส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเกิดได้น้อยมากและไม่มี
แนวทางในการปฏิบัติ
แพทย์จะมีบทบาทเด่น
ในระบบบริการสุขภาพ
เจ้าหน้าที่สุขภาพอื่น ๆและประชาชน
จะมีบทบาทน้อยมาก
เพราะถือว่าสุ
ขภาพเป็นเรื่องของแพทย์
เรื่องของโรงพยาบาล
2.
แนวคิดการปฎิบัติตามบทบาท (
Role
performance
model)
ความหมายของ
สุขภาพ
ใน
แนวคิดนี้
ได้รับอิทธิพลมาจากนักสังคมวิทยา
ซึ่งสนใจเกี่ยวกับบทบาทของบุคคลในสังคมเป็นหลัก
ค าว่า
สุขภาพ
จึงหมายถึง
ความสามารถของบุคคลในการกระท าตามบทบาทที่สังคมก าหนดไว้
ครบถ้วน
เช่น
ความสามารถในการท างาน
เป็นต้น
ส่วนความเจ็บป่วยหมายถึงความล้มเหลวในการท า
หน้าที่ตามบทบาท
เมื่อเจ็บป่วยบุคคลสามารถหยุดกระท าในบทบาทต่างๆ ได้
เช่น
หยุดงาน
นอนพัก
เป็น
ต้น
ความหมายของสุขภาพต
ามแนวคิดนี้
ได้เพิ่มมาตรฐานทางด้านจิตสังคม
คือไม่เพียงแต่ปราศจากอาการ
และอาการแสดงของโรคเท่านั้น
แต่ต้องสามารถท าหน้าที่ตามบทบาททางสังคมด้วย
และยังคงเน้นการ
รักษา
เสถียรภาพ
แต่เป็นเสถียรภาพทางสังคม
ซึ่งยังถือว่าเป็นเป้าหมายทางด้านสุขภาพที่แคบ
และน าไป
สู่
การบริการสาธารณสุขในเชิงรับเช่นกัน
3.
แนวคิดทางด้านการปรับตัว (
Adaptation
model)
ความหมายของ
สุขภาพ
ในแนวคิดนี้
ได้รับ
อิทธิพลมาจากดูบอส (
Dubos
1965
อ้างใน
สมจิต
หนุเจริญกุล
, 2543)
ซึ่งเชื่อว่าบุคคลมีการปรับตัวต่อ
สิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง
และต่อเนื่องตลอดเวลา
เพื่อรักษาดุลยภาพกับสิ่งแวดล้อม
สุขภาพที่ดีจึงหมายถึง
ความยืดหยุ่น
ในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลเป็นการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่จะ
ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับชีวิต
ส่วนการเกิดโรคหมายถึงความล้มเหลวในการปรับตัว
เ
ป็นการท าลาย
ความสามารถของบุคคลที่จะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อม
ความส าคัญของปัญหาสุขภาพในสังคมไทย
สภาพ
ปัจจุบันของสังคมไทยได้แปรเปลี่ยนไปจากเมื่อ
40
–
50
ปีก่อนมาก อันเนื่องมาจากการพัฒนา
ประเทศอย่างรวดเร็ว
มีการเปลี่ยนจากประเทศเกษตรกรรมเป็นประเทศอุตสาหกรร
ม และบังเกิดค่านิยมความ
ทันสมัยตามรูปแบบของประเทศที่พัฒนาแล้วท าให้วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปในทุกๆด้านรวมทั้งด้าน
วัฒนธรรมการบริโภค ซึ่งสิ่งนี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ วิกฤติสังคมไทยเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง
จากการเป็นอยู่และพฤติกรรมที่เรียบง่ายมาเป็นกา
รเป็นอยู่และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากไปรับเอา
รูปแบบการด าเนินชีวิตและวัฒนธรรม
ต่างชาติมาเป็นค่านิยม โดยปราศจาก
การไต่ตรองและดัดแปลงปรับปรุง
ให้เหมาะกับภาวการณ์และสภาพสังคมท้องถิ่น พฤติกรรมสังคมที่ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
ทั้งด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บที่เรียกว่าโรคพฤติกรรมสังคม โรคที่
เกิดคือ โรคหัวใจขาดเลือด โรค
มะเร็งปอด โรคเบาหวาน โรคอ้วน
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนมาจากพฤติกรรมสังคมที่ไม่
เหมาะสม มีวัฒนธรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง
ความเจ็บป่วยมิได้เพียงแต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ต่อบุคคลผู้ป่วยเจ็บเท่านั้น หากสังคมมีอิทธิพลต่อความเจ็บป่วย ทั้งในการให้ความหมาย การ
ก าหนดความ
เจ็บป่วย การรักษาความเจ็บป่วยรวมไปถึงกิจกรรมที่บุคคลกระท าเพื่อสุขภาพของตน ความผิดปกติทางกายที่กิ
แก่บุคคลนั้น จะมีการให้ความหมายที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล และในแต่ละสังคมแม้ว่าจะมีลักษณะความ
ผิดปกติเดียวกันแต่ตีความว่าลักษณะดังกล่าวเป็นความปกติ หรือไ
ม่ปกติแตกต่างกันการที่บุคคลเห็นคุณค่าของ
ชีวิต
(
ดร.เทพินทร์ พัชรานุรักษ์
,25
52
)
ก็คือ การที่บุคคลรับรู้ว่าตนยังมีความหมายต่อตนเองและสังคมแนวคิด
นี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อบุคคลเกิดการรับรู้ต่อตนเอง (
self
–
perception)
เกิดการรักตัวเอง (
self
–
love)
มี
ความภาคภูมิ
ใจในความสามารถของตนเอง (
self
–
esteem)
มีความเชื่อมั่นในตนเอง (
self
–
confidence)
รวมทั้ง มีความเข้าใจและรู้จักตนเองในด้านอื่นๆ สิ่งเหล่านี้จะเป็นจุดที่ก่อให้เกิดการเห็นคุณค่า
ของชีวิตทั้งสิ้น ซึ่งเมื่อมีการให้ความส าคัญกับคุณค่าชีวิตบุคคลเหล่านั้นก็จะเห็นคุ
ณค่าของการมีภาวะสุขภาพที่
ดีและมีพฤติกรรมที่เป็นไปในทิศทางของการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพ แต่ในทางตรงข้ามหากบุคคลไม่เห็น
คุณค่าของชีวิต ก็จะปล่อยให้ชีวิตด าเนินไปไร้อย่างจุดหมาย ขาดความสนใจตนเองท้ายที่สุดจะประสบความล้ม
เลวในชีวิตนอกจากนี้ยังจะเป็นตัวกระตุ้นที่ท า
ให้เขาเกิดความท้อแท้หมดอาลัยในชีวิต กลายเป็นความเครียด
ท้อถอย มองโลกในแง่ร้ายและจะเป็นสาเหตุของการน าไปสู่ความคิดที่มุ่งร้ายตนเองในที่สุด
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ
(
จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ
,
2543
)
มีมากมายหลายสาเหตุ แต่ในที่นี้จะแบ่ง
ออกเป็น
3
องค์ประกอบที่ส าคัญๆ ดังนี้
คือ
1.
องค์ประกอบด้านตัวบุคคล
เช่น
ลักษณะทางพันธุกรรม
,
เชื้อชาติ
,
เพศ
,
อายุและระดับพัฒนาการ
ปัจจัยทางสรีรวิทยา ปัจจัยทางด้านจิตใจ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ
พฤติกรรมอนามัย หรือสุข
ปฏิบัติ
2.
องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม
มี
รายละเอียดดังนี้
คือ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทาง
ชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
และ
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
3.
องค์ประกอบทางด้านระบบการจัดการสาธารณสุขและการบริการสุขภาพ
หมายถึง
การบริหาร
จัดการทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่ของรัฐในการที่จะสนองตอบต่อการส่งเสริมให้บุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชนนั้นๆ หรือ
ประเทศนั้นๆ มีสุขภาพที่ดี และเท่าเทียมกันส่งเสริมให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการเข้าถึงระบบการบริการ
ทางการแพทย์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัส
ไว้เป็นพระพุทธภาษิตว่า
“
อโรคยาปรมา ลาภา
”
ซึ่งแปลว่า
“
ความ
ไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ
”
ซึ่งพระพุทธภาษิตข้อนี้แม้แต่ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยังยอมรับนับถือ
กันและเห็นพ้องต้องกันว่า
“
สุขภาพคือพรอันประเสริฐสุดนอกจากนี้ยังมีสุภาษิตของชาวอาหรับโบราณกล่าวไว้
ว่า
“
คน
ที่มีสุขภาพดีคือคนที่มีความหวังและคนที่มีความหวังคือคนที่มีทุกสิ่งทุกอย่าง
”
ซึ่งนั่นก็หมายความว่า
สุขภาพคือวิถีแห่งชีวิตโดยสุขภาพจะเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรือหนทางซึ่งจะน าบุคคลไปสู่ความสุขและ
ความส าเร็จต่างๆ นานาได้ หรืออาจกล่าวได้ว่า
“
สุขภาพชีวิต
”
สิ่งนี่คือ
ความส าคัญของสุขภาพที่มีต่อสังคมไทย
สังคมไทยกับปัญหาความเจ็บป่วย
ปรากฏการณ์ทางสังคมของความเจ็บป่วยยังได้แสดงออกในลักษณะที่บุคคลถูกคาดหวังจากสังคมว่า
ควรมีการประพฤติ
ในการ
ปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อมีความเจ็บป่วย
และในขณะเดียวกันสังคมจะเป็นผู้ประเมินว่า
บุคคลนั้นหายจากความเจ็บป่วยหรือยัง เมื่อบุคคลรับรู้ว่าตนเองมีอาการผิดปกติซึ่งเป็นความเจ็บป่วย บุคคล
จะต้องมีการกระท าเพื่อคลี่คลายความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น นอกจากนั้นบุคคลยังมีการรับรู้ที่ดูเหมือนจะเป็นไปโดย
อัตโนมัติว่า
ค
วาม
เจ็บป่วยที่เกิดขึ้นนั้นเป็นสิ่งไม่ดี ไม่เป็นที่ต้องการ ต้องมีการด าเนินการขจัดให้หายไปโดยเร็ว
การรีบรักษาตนเองด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การไปพบแพทย์และปฏิบัติตนตามที่แพทย์แนะน าการใช้สมุนไพร
การท าพิธีกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่บุคคลเรียนรู้จากสังคมในการ
กระท าเพื่อตอบสนองต่อความ
เจ็บป่วยที่เกิดขึ้น โดยบุคคลเรียนรู้
จาก
ความรู้สึก
และการรับรู้
ที่ควรมี ท่าทีที่ควรกระท า และวิธีการปฏิบัติต่อ
ความเจ็บป่วยผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมตั้งแต่วัยเด็ก จาก
สถาบัน
ครอบครัวและกลุ่มต่างๆ ทางสังคม
ซึ่งหากบุคคลใดแสดงออกถึงความปิ
ติยินดีเมื่อตนเองมีความเจ็บป่วย
บุคคลนั้น
ก็จะถูกตัดสินว่าเป็นบุคคลที่มี
ความผิดปกติและสังคมก็จะมีกฎเกณฑ์
หรือ
วิธีการในการท าให้บุคคลนั้นมีการรับรู้ต่อความเจ็บป่วยและ
สามารถ
ปฏิบัติในทาง
ที่
สังคมยอมรับ เช่น การถูกสังคมรอบข้างนินทา การแสดงออกถึงความไม่เชื่อว่าบุ
คคล
นั้นมีความเจ็บป่วยจริง หรือในบางครั้งบุคคลนั้นอาจถูกส่งตัวเข้ารับการบ าบัดพฤติกรรมหรือการบ าบัดทางจิต
เป็นต้น
นอกจากนั้นเมื่อบุคคลได้กระท าต่อความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นตามความคาดหวังของสังคมแล้ว สังคมยังมี
อิทธิพลต่อการประเมินว่าบุคคลนั้นหายจากความเจ็บป่วยหรือ
ยัง สังคมอาจก าหนดบุคคลที่เป็นตัวแทนสังคม
คือ แพทย์ให้เป็นผู้ประเมินตัดสินว่าความเจ็บป่วยยังมีอยู่หรือไม่ หรือในบางครั้งสังคมโดยบุคคลรอบข้างจะ
เป็นผู้ก าหนดว่าบุคคลนั้น
“
ควร
”
หายจากความเจ็บป่วยได้แล้ว เช่น บุคคลที่มีอาการผิดปติและได้ท าการ
รักษามาเป็นระยะเวลาหนึ่
งบุคคลรอบข้างได้ท าการพิจารณาจากท่าที ความสามารถ ศักยภาพของบุคคลใน
การกระท ากิจกรรมประกอบกับค าวินิจฉัยแพทย์แล้วมีความเห็นว่า บุคคลนั้นหายจากความเจ็บป่วย และหาก
บุคคลนั้นยังคงกระท าเหมือนหรือราวกับว่าตนเองยังมีความเจ็บป่วยอยู่ สังคมก็จะผลักดันให้บุคคลนั้นด าเนิ
น
ชีวิตหรือมีการปฏิบัติตนเช่นเดียวกับบุ
คคลปกติอื่นๆ ที่ไม่มีความเจ็บป่ว
ย
จากที่ได้กล่าวมาตั้งแต่ต้นจะแสดงให้
เห็นว่า
ปัญหาสุขภาพและสังคมไทยเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน ดังนั้นความเจ็บป่วยในทางสังคมวิทยา
การแพทย์จึงมิใช่เพียงแต่การเกิดขึ้นของความผิดปกติ
หรือเป็นเพียงปรากฏการณ์ทางกาย หากแต่เป็น
ปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งสังคมจะเป็นผู้ก าหนดว่าสิ่งนั้นหรืออาการนั้นเป็นความผิดปกติหรือไม่ ความผิดปกติ
นั้นเป็นความเจ็บป่วยหรือไม่ และสังคมจะคาดหวังรวมทั้งถ่ายทอดให้บุคคลมีทัศนะทางลบต่อความเจ็บป่วย
ก าหนดท่าทีที่ควรจะเป็
นในการตอบสนองความเจ็บป่วย รวมไปถึงก าหนดบุคคลที่เป็นตัวแทนของสังคมในการ
จัดการกับความเจ็บป่วยด้วย และยิ่งไปกว่านั้นความผิดปกติทางกายที่เกิดขึ้นนั้นได้ส่งผลกระทบที่แตกต่างกัน
ต่อบุคคลต่างกลุ่มกัน ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อการให้ความหมายความเจ็บป่วย การตอบสนองต่อคว
าม
เจ็บป่วย รวมทั้งผลกระทบทางสังคมเศรษฐกิจที่มีต่อบุคคลต่างกลุ่มกัน การกล่าวถึงความเจ็บป่วยในฐานะที่
เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมจึงเป็นการกล่าวถึงมิติทางสังคมในสุขภาพและความเจ็บป่วย และเป็นการกล่าวถึง
อิทธิพลทางสังคมที่มีต่อสุขภาพและความเจ็บป่วย
หากเรารู้จักปรับแน
วคิด วิเคราะห์ สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งต่างๆ
รอบตัวล้วนก่อเกิดประโยชน์ในการปรับพฤติกรรมของคนในสังคม สังคมกับสุขภาพเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ได้ ต้อง
พึ่งพิงอิงอาศัยกันเพื่อประโยชน์ของสังคมไทยในปัจจุบัน
คุณค่าที่ได้จากการศึกษา
ปัญหาสุขภาพและสังคมไทย
จากการศึกษาปัญหา
สุขภาพและสังคมไทย
ส
า
มารถ
สรุป
คุณค่า
ที่ได้รับดังนี้
1.
สามารถ
ท า
การวางแผนในการดูแลสุภาพของตนเอง
ครอบครัวและสังคม
ได้
2.
ท าให้วิเคราะห์สถานการณ์และการประเมินปัญหาสุขภาพ
รวมถึง
การจัดล าดับความส าคัญของ
ปัญหาสุขภาพ
เพื่อใช้ในการ
การวางแผน
ในการ
การแก้ไขปัญหาสุขภาพ
และเป็นขั้นตอนการก าหนดวิธีการและ
การคัดเลือกวิธีในการแก้ไขปัญหาสุขภาพให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพของปัญหา
3.
เกิดการเรียนรู้…สู่…
การ
ปฏิบัติ ท าให้สามารถส ารวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และ
พฤติกรรมเสี่ยงของตนเองว่ามีอะไรบ้าง แล้วน ามาวางแผนดูแลสุขภาพตนเองตา
มกระบวนการการวางแผน
ดูแลสุขภาพเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
4.
สามารถ
จัดการกับอารมณ์และความเครียด สร้างทักษะชีวิต
ซึ่ง
ทักษะชีวิตเป็นความสามารถ
ขั้นพื้นฐานของบุคคลในการคิด ตัดสินใจ แก้ปัญหา และสามารถปรับตัวและเลือกทางเดินชีวิตที่เหมาะสมใน
การเผชิญกับสถานการณ์ต่าง ๆ
ตามสภาพสังคมปัจจุบัน
5.
สร้างความตระหนักให้กับตนเอง ครอบครัว และสังคมในการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย
จิตใจ และสังคม
ท าให้เกิดสุขภาวะที่ดี ลดการสูญเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ลดภาระให้กับสังคมในการเลี้ยงดู
กลุ่มป่วย พิการ จากการเจ็บป่วย และลดค่าใช้จ่ายในการรักษาใ
นกลุ่มโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง ผลักดันเศรษฐกิจใน
การพัฒนาสังคมในอนาคตได้มากขึ้น เพราะคนสุขภาพดี ประเทศชาติก็จะดีด้วย
6.
สามารถน า
องค์
ความรู้และสิ่งที่ได้รับการการ
ศึกษา
ไปเผยแพร่และ
จัด
ประสบการณ์ในการดูแล
สุขภาพของคนในสังคมได้อย่างมีคุณค่า
สรุป
สุขภาพของคน
ใน
ประเทศ
เป็นสิ่งจ าเป็นที่
ทุกคนในสังคมไทย
ต้องมีการวางแผนและ
มีการ
จัดการให้
ทุก
คนใน
สังคม
มีสภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจถึงแม้การด าเนินงานจะเป็นไปอย่างเชื่องช้า
และยากล าบาก
แต่
ทั้งในภาค
รัฐบาล
ที่ผ่านมา
ทุกคณะ
และประชาชนทุกคน
ก็ปรารถนาที่จะให้ทุกคน
ใน
สังคมไท
ย
มีสุขภาพอนามัยในระดับสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ถือว่า
สิ่งเหล่านี้
เป็นสิทธิขั้น
พื้น
ฐานของมนุษยชนอัน
ปรากฏอยู่ในธรรมนูญขององ
ค์
การอนามัยโลกและยังเป็นเป้าหมายที่จะพัฒนาต่อไปตามค าขวัญขององค์การ
อนามัยโลกที่ว่า
“Health For All By The Year 2000”
แปลเป็นภาษาไทยว่า
“
สุ
ขภาพดีถ้วนหน้าเมื่อปี
2543”
ซึ่งประเทศไทยเป็นสมาชิกขององค์การอนามัยโลกและได้น าแนวทางดังกล่าวมาด าเนินการจนถึง
ปัจจุบันท าให้ประชาชนใน
ประเทศ
มีสุขภาพดีในระดับหนึ่งและจะพัฒนาให้คนในชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดี
(
Quality Of Life)
ในระยะต่อไปเพื่อความเจริญและมั่นคงของปร
ะเทศชาติ
สุขภาพเป็นสมบัติประจ าตัวของ
มนุษย์ และเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคนผู้อื่นจะหยิบยื่นให้ แลกกัน หรือท าแทนกันไม่ได้ ดังนั้นประชาชนแต่
ละคนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ ขวนขวายทะนุบ ารุงและรักษาสุขภาพของตนเองให้มีความสมดุล ปราศจาก
โรคภัยไข้เจ็บต่างๆเสาะหาแนวทางที่
เหมาะสมมาปฏิบัติเพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขทั้งภายในครอบครัวและ
ภายในสังคมอย่างไรก็ดีคนเรายังคิดไม่ถึงหรือมองไม่เห็นว่าสุขภาพเป็นสมบัติส่วนบุคคลแล้วจะท าให้เขา
เหล่านั้น ดูแลเอาใจใส่ตนเองอย่างเพียงพอหรือดูแลเอาใจใส่สุขภาพตนเองอย่างดีที่สุดยังมีความเชื่อว่
าการที่
สุขภาพดีนั้น จ าเป็นต้องอาศัยผู้อื่นเป็นหลักในการช่วยเหลือหรืออาจจะเรียกได้ว่า ต้องยืมจมูกคนอื่นมาหายใจ
ก็อาจจะมีผลกระทบให้บุคคลนั้น ๆ มีสุขภาพไม่ดีเท่าที่ควรร่างกายไม่แข็งแรงหรือมีอาการทุพพลภาพเกิดขึ้นได้
ซึ่งอาจจะรวมหรือไม่รวมถึงการมีจิตใจอารมณ์หรือ
ความรู้สึกนึกคิดที่ผิดไปจากปกติหรือคนธรรมดาเป็นสาเหตุ
ให้บุคคลซึ่งอยู่ในสภาพดังกล่าวมีความยากล าบากในการปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือชีวิตประจ าวันได้
อย่างเป็นสุขไม่สามารถประกอบอาชีพให้เกิดผลได้อย่างเต็มที่และถ้าหากว่าสุขภาพมีความเสื่อมโทรมมากก็จะ
สร้างค
วามยากล าบากให้แก่ครอบครัวและเป็นภาระแก่สังคมด้วยส่วนบุคคลที่มีสุขภาพทางจิตผิดปกตินั้นก็จะมี
ปัญหาเช่นเดียวกับผู้ที่มีสุขภาพทางกายไม่ดีและยังอาจเป็นอันตรายต่อสังคมโดยการประพฤติปฏิบัติไม่ชอบ
ธรรมต่างๆ เช่นการติดสารเสพติด ประพฤติตนเป็นอันธพาล ก่อกวนความสงบของสั
งคมหรือกรระทบการอัน
เกี่ยวกับอาชญากรรมซึ่งเป็นผลร้ายต่อทรัพย์สินหรือชีวิตผู้อื่นก็ได้บุคคลบางคนสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้
เป็นอย่างดี ตามสายตาของบุคคลภายนอกแต่บุคคลเหล่านั้นอาจจะมีความยากล าบากในการปรับความรู้สึก
ภายในจิตใจของตนเอง ท าให้เกิดควา
ม
ขัดแย้งขึ้นภา
ยในจิตใจ และอารมณ์เช่น มีความทุกข์กังวลใจหวาดกลัว
หวาดระแวง ก็อาจท าให้กินไม่ได้ นอนไม่หลับซึ่งถ้าปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นบ่อย ๆ หรือมีระยะยาวนานก็จะเกิด
ผลเสียต่อสุขภาพทางกายไปด้วย เช่น เกิดอาการเป็นโรคกระเพาะอาหารโรคภูมิแพ้ และโรคอื่น ๆ อีกได้
เช่นกันดังนั้น จึ
งพอสรุปได้ว่าการที่คนเรามีสุขภาพดี ทั้งทางกายและทางจิตใจนั้นย่อมท าให้เราเป็นบุคคลหรือ
ประชาชนที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของสังคมมีความสาสมารถในการดูแลตนเองและครอบครัวตลอดจนมี
ความสามารถที่จะร่วมมือกับคนอื่นๆ ในการสร้างและท า
นุบ ารุงสังคมรวมทั้งการช่วยกันสร้างเ
สริมความมั่นคง
และความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติได้เป็นอย่างดี